thaiall logomy background

emacs ใน ลีนุกซ์ (Linux)

my town
หน้าหลัก | ลีนุกซ์คืออะไร | แนะนำหนังสือ | superuser | บันทึกปัญหา | เนื้อหาทั้งหมด
ลีนุกซ์ (Linux) # emacs
โปรแกรม emacs

โปรแกรม editor ที่ใช้สำหรับแก้ไขแฟ้มแบบ text คล้าย vi แต่มีประสิทธิภาพกว่ามาก

emacs - GNU project Emacs
โปรแกรมแก้ไขแฟ้มตัวอักษรที่ทำงานได้คล้ายกับ pico แต่หลายคนบอกว่า ตัวนี้ทำงานได้ดีกว่า แต่ผมว่า pico ใช้งานได้ง่ายกว่ากันเยอะเลย เพราะเห็นเมนูด้านล่าง แต่ของ emacs จะใช้ ctrl-h ดูส่วนช่วยเหลือ และกด ctrl-x + ctrl-c จึงจะออกจากโปรแกรม อาจเป็นเพราะผมใช้ไม่ชำนาญมังครับ ในเมื่อผมใช้ pico เป็น editor ผมคงไม่จำเป็นต้องศึกษา emacs เพิ่มเติมแล้ว ยกเว้นว่าสักวันอาจมีเหตุจำเป็นที่ความสามารถของ pico ให้ไม่ได้ แต่ emacs ให้ได้ก็เป็นได้
Welcome to GNU Emacs, 
one component of a Linux-based GNU system.
Get help           C-h  (Hold down CTRL and press h)
Undo changes       C-x u       Exit Emacs               C-x C-c
Get a tutorial     C-h t       Use Info to read docs    C-h i
Ordering manuals   C-h RET
Activate menubar   F10  or  ESC `  or   M-`
(`C-' means use the CTRL key.  
`M-' means use the Meta (or Alt) key.
If you have no Meta key, 
you may instead type ESC followed by the character.)
Android Testing
in Terminal Emulator
$emacs not found
บทเรียนที่แนะนำ Super User :: BusyBox :: ปัญหาที่พบในอดีต :: Linux SIS
Linux Sim* ( bellard | cocalc | masswerk | linuxcontainers | copy.sh | tutorialspoint )
Win. Subsystem for Linux(Ubuntu) :: คลิปการใช้ Term. Emu. ใน Tab10.1 :: การใช้คำสั่งพื้นฐาน :: คู่มือ :: archive.org
สารบัญ
บทที่ 1 : คำสั่งพื้นฐานของลีนุกซ์ (android)
คำสั่ง id
คำสั่ง pwd
คำสั่ง ls
คำสั่ง ping
คำสั่ง netstat
คำสั่ง df
คำสั่ง du
คำสั่ง ps
คำสั่ง kill
คำสั่ง top
คำสั่ง date
คำสั่ง set (env)
คำสั่ง service
คำสั่ง mount, umount
คำสั่ง cd, mkdir, rmdir
คำสั่ง cp, rm, mv
คำสั่ง cat
คำสั่ง chmod
คำสั่ง chown
คำสั่ง grep
ม้ linux จะถูกริเริ่มโดย Linus Benedict Torvalds จาก University of Helsinki ที่พัฒนาในส่วนของ Linux Kernel แต่ปัจจุบันได้มีนักพัฒนาจากทั่วโลกเข้ามาร่วมเติมเต็มเขี้ยวเล็บ และยกระดับเป็นซอฟท์แวร์เชิงพาณิชย์ด้วยชื่อทางการค้าของตน แต่ก็มีอีกกลุ่มที่มุ่งมั่นพัฒนาสนับสนุนให้เป็น Open Source Operating System ที่เปิดให้ Download ไปติดตั้ง และใช้งานได้ฟรี รวมถึงการปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพ และประยุกต์ใช้งานได้ โดยไม่หวังผลกำไร
ดังนั้น การใช้คำสั่งบน Bash Shell เพื่อสั่งงานระบบปฏิบัติการ จึงมีคำสั่งใหม่เพิ่มขึ้น คำสั่งเก่าหายไป หรือเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ในหัวข้อนี้เป็นคำสั่งที่มักพบได้ใน Linux ทั่วไป โดยเฉพาะบน Android OS ที่เผยแพร่โดย Google ให้เป็นระบบปฏิบัติการสำหรับสมาร์ทโฟน (Smart Phone) มีส่วนแบ่งตลาดถึง 70% ใน Q4 ของปี 2013 ขณะที่ iOS มีส่วนแบ่ง 21.7% หากอุปกรณ์จะใช้คำสั่งบน Bash Shell หรือ Linux command line ก็เพียงแต่ Download Application เช่น Android Terminal Emulator
os/ebook FundaOfUnix.pdf
บทที่ 2 : คำสั่งเกี่ยวกับระบบ
คำสั่ง man
คำสั่ง tail
คำสั่ง su sudo
คำสั่ง fsck
คำสั่ง lspci
คำสั่ง whereis
คำสั่ง find
คำสั่ง vi
คำสั่ง pico
คำสั่ง gzip
คำสั่ง tar
คำสั่ง last
คำสั่ง useradd
คำสั่ง userdel
คำสั่ง usermod
คำสั่ง chgrp
คำสั่ง crontab
คำสั่ง reboot, shutdown
ถ้าทำ root เครื่องสำเร็จ หมายถึง การทำให้อุปกรณ์ใช้คำสั่งข้ามข้อจำกัดที่ระบบปฏิบัติการออกแบบไว้ ก็จะสามารถติดตั้งโปรแกรมพิเศษได้ อาทิ busybox เป็นการเพิ่มคำสั่งให้เรียกใช้บน command line ได้อีกมาก
คำสั่งในหัวข้อนี้ มีให้ใช้ในอุปกรณ์ที่ root แล้ว และติดตั้ง busybox แต่ถ้าเป็นระบบปฏิบัติการอื่น อาทิ Fedora หรือ CentOS หรือ Debian หรือ Mint ก็จะใช้คำสั่งเหล่านี้ได้ ไม่จำเป็นต้องทำ root เหมือนบน Android
บทที่ 3 : คำสั่งเกี่ยวกับเครือข่าย
คำสั่ง nslookup
คำสั่ง telnet
คำสั่ง ifconfig
คำสั่ง route
คำสั่ง traceroute, tracert

Screen: JSLinux ที่เห็นก็คล้ายกับที่เราใช้ Terminal Emulator App
ที่พบใน Android ซึ่งใช้งานผ่าน Command Line ได้เหมือนกัน
ใช้คำสั่ง Whoami เพื่อให้รู้ตัวว่า "เราคือใคร" เหมือนชื่อหนังของเยอรมัน
บทที่ 4 : คำสั่งอื่น ๆ
คำสั่ง lynx
คำสั่ง emacs
คำสั่ง mkbootdisk
คำสั่ง rpm
คำสั่ง ntsysv
คำสั่ง chkconfig
คำสั่ง netcfg
คำสั่ง xinetd
คำสั่ง runlevel
คำสั่ง nmap
-
บทที่ 5 : Shell Script
5.1 สคริปท์ ใช้ค่าระบบ และรับค่า
5.2 สคริปท์ การเลือกแบบ if
5.3 สคริปท์ การเลือกแบบ case
5.4 สคริปท์ ทำซ้ำแบบ while
5.5 สคริปท์ ทำซ้ำแบบ for
5.6 สคริปท์ ทำซ้ำแบบ until
5.7 สคริปท์ ฟังก์ชันที่สร้างเอง
บทที่ 6 : แนะนำเครื่องบริการ
6.1 slowaris.labs.pulltheplug.com (u:guest p:guest)
6.2 academic.cmri.ac.th
6.71 se-ed.net (จดหมายแจ้งปรับปรุงระบบ)
6.72 thcity.com (เปลี่ยน Linux เป็น Windows)
-
บทที่ 7 : การใช้ application
7.1 วิธีใช้โปรแกรม FTP ส่งแฟ้มเข้าเครื่อง isinthai.com
7.2 การติดตั้งโปรแกรม .rpm ใน Redhat เพิ่มเติม
7.3 การติดตั้ง Secure Shell
-
บทที่ 8 : ระบบ file และ directory
8.1 การกำหนดค่าในแฟ้มต่าง ๆ
8.2 แฟ้มต่าง ๆ ที่ควรรู้จัก
8.98 การติดตั้ง Linux Redhat
8.99 การติดตั้ง Linux Redhat เมื่อแผ่น 2 ใช้ไม่ได้
-
Thaiall.com