thaiall logomy background

0801 ใน ลีนุกซ์ (Linux)

my town
หน้าหลัก | ลีนุกซ์คืออะไร | แนะนำหนังสือ | superuser | บันทึกปัญหา | เนื้อหาทั้งหมด
ลีนุกซ์ (Linux) # 0801
8.1 การกำหนดค่าในแฟ้มต่าง ๆ
: เนื่องจาก linux ทำงานแบบ text mode ถึงจะมี graphic ช่วย แต่พื้นฐานก็ยังเป็น text mode


ท่านสามารถใช้โปรแกรม vi หรือ pico ในการแก้ไขตามที่ต้องการได้ ซึ่งในแต่ละแฟ้มจะมีการกำหนดไม่เหมือนกัน และรูปแบบแต่ละแฟ้มก็ต่างกันด้วย สำหรับทีมงานของเราไม่ใช้ผู้ชำนาญ ในหัวข้อนี้จึงนำข้อมูลที่ทดสอบ แล้วใช้งานได้ แต่อาจผิดในทาง Theory ซึ่งอาจก่อผลที่ผิดพลาดในอีกมุมมองหนึ่ง ที่ใด ทราบว่าเรากำหนดอะไรผิดไป ขอได้ชี้แนะด้วย
    
    8.1.1 :: /etc/login.defs
      - ใช้กำหนดว่าเครื่องจะมี account สูงสุดได้เท่าใด - เพราะเลขที่กำหนดประจำตัวผู้ใช้ เริ่มต้นที่ 500 UID_MIN 500 UID_MAX 60000

    8.1.2 :: /etc/security/limits.conf
      # ใช้จำกัดสิทธิของผู้ใช้ # คำสั่งจริงมี 2 บรรทัดล่างสุด # ส่วนที่มี # เป็นคำอธิบายทั้งสิ้น #<domain> <type> <item> <value> # #Where: #<domain> can be: # - an user name # - a group name, with @group syntax # - the wildcard *, for default entry # #<type> can have the two values: # - "soft" for enforcing the soft limits # - "hard" for enforcing hard limits # #<item> can be one of the following: # - core - limits the core file size (KB) # - data - max data size (KB) # - fsize - maximum filesize (KB) # - memlock - max locked-in-memory address space (KB) # - nofile - max number of open files # - rss - max resident set size (KB) # - stack - max stack size (KB) # - cpu - max CPU time (MIN) # - nproc - max number of processes # - as - address space limit # - maxlogins - max number of logins for this user # #<domain> <type> <item> <value> #* soft core 0 #* hard rss 10000 #@student hard nproc 20 #@faculty soft nproc 20 #@faculty hard nproc 50 #ftp hard nproc 0 #@student - maxlogins 4 # # ผู้ใช้ในกลุ่ม users มีเนื้อที่ใน home directory ได้เพียง 1 Mb @users hard rss 1000 * soft core 0

    8.1.3 :: /etc/lilo.conf
      # คู่แข่งของ /etc/grub.conf # เมื่อแก้แฟ้มนี้แล้ว ให้สั่งประมวลผล /sbin/lilo # เพื่อให้การ update แฟ้มข้างล่างนี้เป็นผล สำหรับการ boot ครั้งใหม่ # และครั้งต่อไปที่บูตเครื่องจะ default ไปที่ linux boot=/dev/hda map=/boot/map install=/boot/boot.b prompt timeout=50 default=linux image=/boot/vmlinuz-2.2.14-5.0 label=linux read-only root=/dev/hda5 other=/dev/hda1 label=window

    8.1.5 :: /etc/crontab
      - ตารางเวลาการสั่งประมวลผลโปรแกรม - หากต้องการสั่งงานต้องสร้างแฟ้มในห้อง /etc/cron.daily - แฟ้มที่สร้างให้ใส่คำสั่งได้เลยเช่น /home/radius/runacct - อย่าลืมกำหนด 755 ให้แฟ้มนั้นเช่น chmod 755 runradius SHELL=/bin/bash PATH=/sbin:/bin:/usr/sbin:/usr/bin MAILTO=root HOME=/ # run-parts 01 * * * * root run-parts /etc/cron.hourly 02 4 * * * root run-parts /etc/cron.daily 22 4 * * 0 root run-parts /etc/cron.weekly 42 4 1 * * root run-parts /etc/cron.monthly # minute (0-59), # hour (0-23), # day of the month (1-31), # month of the year (1-12), # day of the week (0-6 with 0=Sunday)

    8.1.6 :: /etc/default/useradd
      - ในบางเครื่องอาจกำหนดเป็นดังข้างล่างนี้จะสะดวก - และสิทธิของห้องเป็น 700 จึงต้องใช้ script _crt กำหนดสิทธิเป็น 705 - อีกครั้งหนึ่ง จึงจะทำให้เปิดห้องผ่าน www ได้ปลอดภัย # useradd defaults file GROUP=100 HOME=/home INACTIVE=-1 EXPIRE= #SHELL=/bin/bash SHELL=/rbin/menu SKEL=/etc/skel

    8.1.7 :: /etc/inittab
      - ทำให้ Boot ไม่เข้า xwindows โดยแก้บรรทัดหนึ่ง - ที่อยู่ในแฟ้ม inittab เท่านั้นเอง # Default runlevel. The runlevels used by RHS are: # 0 - halt (Do NOT set initdefault to this) # 1 - Single user mode # 2 - Multiuser, without NFS (The same as 3, if you do not have networking) # 3 - Full multiuser mode # 4 - unused # 5 - X11 # 6 - reboot (Do NOT set initdefault to this) #id:5:initdefault: id:3:initdefault:
บทเรียนที่แนะนำ Super User :: BusyBox :: ปัญหาที่พบในอดีต :: Linux SIS
Linux Sim* ( bellard | cocalc | masswerk | linuxcontainers | copy.sh | tutorialspoint )
Win. Subsystem for Linux(Ubuntu) :: คลิปการใช้ Term. Emu. ใน Tab10.1 :: การใช้คำสั่งพื้นฐาน :: คู่มือ :: archive.org
สารบัญ
บทที่ 1 : คำสั่งพื้นฐานของลีนุกซ์ (android)
คำสั่ง id
คำสั่ง pwd
คำสั่ง ls
คำสั่ง ping
คำสั่ง netstat
คำสั่ง df
คำสั่ง du
คำสั่ง ps
คำสั่ง kill
คำสั่ง top
คำสั่ง date
คำสั่ง set (env)
คำสั่ง service
คำสั่ง mount, umount
คำสั่ง cd, mkdir, rmdir
คำสั่ง cp, rm, mv
คำสั่ง cat
คำสั่ง chmod
คำสั่ง chown
คำสั่ง grep
ม้ linux จะถูกริเริ่มโดย Linus Benedict Torvalds จาก University of Helsinki ที่พัฒนาในส่วนของ Linux Kernel แต่ปัจจุบันได้มีนักพัฒนาจากทั่วโลกเข้ามาร่วมเติมเต็มเขี้ยวเล็บ และยกระดับเป็นซอฟท์แวร์เชิงพาณิชย์ด้วยชื่อทางการค้าของตน แต่ก็มีอีกกลุ่มที่มุ่งมั่นพัฒนาสนับสนุนให้เป็น Open Source Operating System ที่เปิดให้ Download ไปติดตั้ง และใช้งานได้ฟรี รวมถึงการปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพ และประยุกต์ใช้งานได้ โดยไม่หวังผลกำไร
ดังนั้น การใช้คำสั่งบน Bash Shell เพื่อสั่งงานระบบปฏิบัติการ จึงมีคำสั่งใหม่เพิ่มขึ้น คำสั่งเก่าหายไป หรือเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ในหัวข้อนี้เป็นคำสั่งที่มักพบได้ใน Linux ทั่วไป โดยเฉพาะบน Android OS ที่เผยแพร่โดย Google ให้เป็นระบบปฏิบัติการสำหรับสมาร์ทโฟน (Smart Phone) มีส่วนแบ่งตลาดถึง 70% ใน Q4 ของปี 2013 ขณะที่ iOS มีส่วนแบ่ง 21.7% หากอุปกรณ์จะใช้คำสั่งบน Bash Shell หรือ Linux command line ก็เพียงแต่ Download Application เช่น Android Terminal Emulator
os/ebook FundaOfUnix.pdf
บทที่ 2 : คำสั่งเกี่ยวกับระบบ
คำสั่ง man
คำสั่ง tail
คำสั่ง su sudo
คำสั่ง fsck
คำสั่ง lspci
คำสั่ง whereis
คำสั่ง find
คำสั่ง vi
คำสั่ง pico
คำสั่ง gzip
คำสั่ง tar
คำสั่ง last
คำสั่ง useradd
คำสั่ง userdel
คำสั่ง usermod
คำสั่ง chgrp
คำสั่ง crontab
คำสั่ง reboot, shutdown
ถ้าทำ root เครื่องสำเร็จ หมายถึง การทำให้อุปกรณ์ใช้คำสั่งข้ามข้อจำกัดที่ระบบปฏิบัติการออกแบบไว้ ก็จะสามารถติดตั้งโปรแกรมพิเศษได้ อาทิ busybox เป็นการเพิ่มคำสั่งให้เรียกใช้บน command line ได้อีกมาก
คำสั่งในหัวข้อนี้ มีให้ใช้ในอุปกรณ์ที่ root แล้ว และติดตั้ง busybox แต่ถ้าเป็นระบบปฏิบัติการอื่น อาทิ Fedora หรือ CentOS หรือ Debian หรือ Mint ก็จะใช้คำสั่งเหล่านี้ได้ ไม่จำเป็นต้องทำ root เหมือนบน Android
บทที่ 3 : คำสั่งเกี่ยวกับเครือข่าย
คำสั่ง nslookup
คำสั่ง telnet
คำสั่ง ifconfig
คำสั่ง route
คำสั่ง traceroute, tracert

Screen: JSLinux ที่เห็นก็คล้ายกับที่เราใช้ Terminal Emulator App
ที่พบใน Android ซึ่งใช้งานผ่าน Command Line ได้เหมือนกัน
ใช้คำสั่ง Whoami เพื่อให้รู้ตัวว่า "เราคือใคร" เหมือนชื่อหนังของเยอรมัน
บทที่ 4 : คำสั่งอื่น ๆ
คำสั่ง lynx
คำสั่ง emacs
คำสั่ง mkbootdisk
คำสั่ง rpm
คำสั่ง ntsysv
คำสั่ง chkconfig
คำสั่ง netcfg
คำสั่ง xinetd
คำสั่ง runlevel
คำสั่ง nmap
-
บทที่ 5 : Shell Script
5.1 สคริปท์ ใช้ค่าระบบ และรับค่า
5.2 สคริปท์ การเลือกแบบ if
5.3 สคริปท์ การเลือกแบบ case
5.4 สคริปท์ ทำซ้ำแบบ while
5.5 สคริปท์ ทำซ้ำแบบ for
5.6 สคริปท์ ทำซ้ำแบบ until
5.7 สคริปท์ ฟังก์ชันที่สร้างเอง
บทที่ 6 : แนะนำเครื่องบริการ
6.1 slowaris.labs.pulltheplug.com (u:guest p:guest)
6.2 academic.cmri.ac.th
6.71 se-ed.net (จดหมายแจ้งปรับปรุงระบบ)
6.72 thcity.com (เปลี่ยน Linux เป็น Windows)
-
บทที่ 7 : การใช้ application
7.1 วิธีใช้โปรแกรม FTP ส่งแฟ้มเข้าเครื่อง isinthai.com
7.2 การติดตั้งโปรแกรม .rpm ใน Redhat เพิ่มเติม
7.3 การติดตั้ง Secure Shell
-
บทที่ 8 : ระบบ file และ directory
8.1 การกำหนดค่าในแฟ้มต่าง ๆ
8.2 แฟ้มต่าง ๆ ที่ควรรู้จัก
8.98 การติดตั้ง Linux Redhat
8.99 การติดตั้ง Linux Redhat เมื่อแผ่น 2 ใช้ไม่ได้
-
Thaiall.com