- การสร้างรอยประทับใจ
(กฤตชยา วิเชียรเพริศ)
- แต่งการให้เหมาะสม
- มีนิสัยยิ้มง่าย
- มีอารมณ์ขัน
- ใช้คำพูดอย่างเหมาะสม
- มีความสุภาพอ่อนน้อม
- รู้จักใช้ภาษากาย
- รู้จักยืดหยุ่นได้
- มีความรู้สึกนึกคิดที่ดี
- ควบคุมอารมณ์ได้
- รู้สึกชอบเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน
- การเสริมสร้างบุคลิกภาพ
(ยุพาพรรณ คุณาธิปพงษ์)
- การสร้างเสริมความเชื่อมั่นในตัวเอง
- การสร้างเสริมด้วยการแต่งกายดี ถูกกาลเทศะ
- ความจริงใจ และเป็นมิตรกับผู้อื่น
- ความรอบรู้ รอบคอบ
- ความกระตือรือร้น ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
- ความจำ ปฏิภาณไหวพริบ
- ความรับผิดชอบ และเข้มแข็งอดทน
- ความมีสติ สุขุม เยือกเย็น
- การมีสุขภาพใจดี
- การมีสุขภาพกายดี
- การสร้างมนุษยสัมพันธ์
(ชาตรี ทองปาน)
- กล้า
- ยิ้ม
- ให้
- จำ
- การฟัง
- การพูด
- มั่นใจ
- ชนะใจ
- ขอบคุณ
- การยกย่องสรรเสริญ
- การเป็นนักพูดที่ดี
(สมบัติแสงนา)
- การเตรียมการพูด
- การปลุกความกล้าหาญ
- การขจัดความกลัวจากจิตใจ
- การฝึกฝนหน้ากระจก
- การเตรียมตัวเพื่อความเชื่อมั่น
- บุคลิกภาพของนักพูด
- การสร้างบรรยากาศในการพูด
- ศิลปะการพูดที่ดี
- การพูดในวงสังคม
- ความสำเร็จในการพูด
- กการสร้างความเชื่อมั่นในตนเอง
(ขนิษฐา โฉลกพันธ์รัตน์)
- รู้จักตนเอง
- ความเป็นตัวของตัวเอง และความกล้า
- จงสร้างความสามารถให้กับตน
- จะสะสมความสำเร็จไว้กับตนเองเสมอ ๆ
- จงปรับปรุงแก้ไขสิ่งที่เป็นปัญหา
- จงเห็นคุณค่าของสิ่งดีที่ตนมีอยู่
- สร้างบุคลิกภาพที่ดี
- คิดในทางบวก
- ส่งเสริมความมั่นใจภายใน
- รู้จักวางตัว
- การสร้างมาด
(ประคอง ภูถมศรี)
- สร้างมาดกับสิ่งที่มีติดตัวมา
- สร้างมาดด้วยเครื่องส่งเสริม หรือ เฟอร์นิเจอร์
- สร้างมาดด้วยเรื่องเครื่องตกแต่ง
- สร้างมาดด้วยการงดเว้น
- สร้างมาดขณะดื่มน้ำ และรับประทานอาหาร
- สร้างมาดจากการพูด
- สร้างมาดในการนั่ง การยืน การเดิน
- สร้างมาดด้วยสายตา
- สร้างมาดจากการฟัง
- สร้างมาดด้วยจิตใจ
- การทำให้เราเป็นคนไม่น่าเบื่อ
(ปิยะชัย พัทศุระพงษ์)
- สร้างทัศนคติที่ดีต่อคนอื่น
- ให้ความเท่าเทียมกันต่อทุกคน
- ต้องมีสติ
- ไม่โกรธ และไม่เกลียดผู้อื่น
- สร้างมิตรที่ดีด้วยความรัก
- ความประพฤติดี
- ใช้แต่คำพูดไพเราะ
- ไม่คุยโวโอ้อวด
- ไม่เอาความคิดตัวเองเป็นใหญ่
- น้อมรับคำตำหนิติเตียน
- การพัฒนาตนเอง
(ชวลิต พรทวีวัฒน์)
- เก่งตนเอง
- เก่งคนอื่น
- เก่งงาน
- อาศัยความรู้ความสามารถ
- มีสิ่งแวดล้อมที่ดี
- รู้จักเสาะแสวงหาสิ่งใหม่ ๆ
- การสร้างขึ้นมาด้วยตนเอง
- การตั้งใจ และปฏิบัติจริง
- นำความเปลี่ยนแปลงในชีวิตไปสู่ความเจริญ
- ทำตนให้มีคุณค่า และเป็นที่ยอมรับของสังคม
- การเป็นวิทยากรที่ดี
(พ.ต.ท.สัญญา สิงหะเดชะ)
- เตรียมการ
- เป็นกันเอง
- ไปถึงก่อนเวลา
- ช่างสังเกต
- กระตือรือร้น
- เชื่อมั่น
- มีความรู้
- บุคลิกลีกษณะดี
- ภาษา
- น้ำเสียง
- การทำงานร่วมกับบุคคลอื่นอย่างมีความสุข
(อุไร ราชวิจิตร)
- ต้องเข้าใจคนอื่น
- ต้องคิดว่าคนอื่นหรือเพื่อนร่วมงานอื่น ๆ ชอบเรา
- มีความจริงใจ และเต็มใจในการทำงานร่วมกับคนอื่น
- สร้างความรู้สึกว่าสมาชิกคนอื่นมีค่า
- ยอมรับข้อบกพร่อม
- รับฟัง และยอมรับข้อคิดเห็นของคนอื่น
- สร้างความชื่นชมโดยไม่หวังผลตอบแทน
- รู้จักให้ความรัก และอุทิศตนเพื่อผู้อื่น
- รู้จักปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทำงานให้น่าสนใจดึงดูด กระปรี้กระเปร่า และสดชื่นอยู่ตลอดเวลา
- ต้องพยายามติดต่อ และพูดคุยสนทนากับคนที่มีความสำเร็จในชีวิตการงาน
- การดำเนินชีวิต
(สุพจน์ ไวพจน์)
- จงสร้างความหวังในชีวิตอย่างมีแผน
- มีบุคลิกลักษณะที่ดี
- การมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
- เป็นคนทันสมัยอยู่เสมอ
- มีความเสียสละ
- รู้จักสร้างฐานะ
- มีความอดทด และอดกลั้น
- มีความขยันขันแข็ง
- รู้จักเกรงใจผู้อื่น
- สร้างงานอย่างมีคุณค่า
- การแก้ความน่าเบื่อหน่ายของคนอื่น
(ประเวช รัตนวงศ์)
- จดจำชื่อ และนามสกุล
- ค้นหาสิ่งที่ดีในตัวเขา
- มองหาจุดเด่น และเอกลักษณ์ประจำตัว
- ชวนคุยในเรื่องตลกหรือสนุกสนานในวงสนทนาต่าง ๆ
- หยั่งรู้จิตใจคนด้วยการคุยในสิ่งที่น่าสนใจ
- ยิ้ม
- จงช่วยให้คนอื่นเกิดความมั่นใจในตัวเอง
- จงเป็นกระจกเงาให้แก่เขา
- เงียบ
- หนี
- การขจัดความเครียด
(พ.ต.ต.จรูญ นวมทอง)
- ให้มีความพึงพอใจในตนเอง
- ให้มองโลกในแง่ดี
- ให้ค้นหาข้อดีของตนเอง
- ให้มีความยืดหยุ่นในชีวิต
- ให้พักผ่อนนอนหลับให้เพียงพอ
- ให้รู้จักสร้างอารมณ์ขัน
- ให้เป็นผู้รู้จักการให้ และรู้จักการรับ
- ให้ทำกิจกรรมอื่นเพื่อคลายเครียด
- ให้รู้จักปลง และปล่อยวาง และระบายออกเสียบ้าง
- ให้รู้จักการเจริญสติ
- การพัฒนาจิตใจ
(บุญคงศิลป์ วานมนตรี)
- รู้จักพอใจในสิ่งที่ตนมีอยู่
- ลดอบายมุขต่าง ๆ
- กระชับมิตร
- พิชิตอุปสรรค
- สร้างความรักในงาน
- สร้างความชื่นบานตั้งแต่เช้า
- ริเริ่มหาช่องทางใหม่
- สร้างความมั่นใจในตนเอง
- รู้จักรักษาสุขภาพอนามัยของตนเอง
- ทำจิตใจให้เป็นสมาธิ
- การครองชีวิตให้มีสุข
(อุไรวรรณ สมบัตินันท์)
- สัจจะ
- ทมะ
- ขันติ
- จาคะ
- เมตตา
- กรุณา
- มิทุตา
- อุเบกขา
- ความขยันขันแข็ง
- การประหยัด
- การทำงานให้ประสบความสำเร็จ
(กนกอร ยศไพบูลย์)
- กำหนดโครงร่างว่าจะดำเนินการอย่างไร และควรจะถึงจุดไหนเมื่อทำงานครบปี
- ตรวจสอบตัวเองเป็นระยะ
- กำหนดเป้าหมาย และการทำงาน
- เลือกผู้ร่วมงานที่สามารถทำงานดีที่สุด และให้แรงจูงใจแก่เขา
- มีทัศนคติ มีความกระตือรือร้น และจงภูมิใจในงานที่ทำ
- มอบหมายงาน หน้าที่ ความรับผิดชอบให้คนอื่นบ้าง
- จัดเวลาให้เหมาะสม
- พัฒนาทักษะในการติดต่อสื่อสาร
- พัฒนาทักษะในการตัดสินใจ และแก้ปัญหา
- ทำร่างกายให้สมบูรณ์แข็งแรง โดยการออกกำลังกายอยู่เสมอ
- การสร้างความสำเร็จในชีวิต
(เทวรัฐ โตไทยะ)
- ปากเป็นเอก รู้จักประชาสัมพันธ์
- เลขแม่น มีข้อมูลพร้อม
- แผนเหมาะ การทำงานมีการวางแผน
- เจาะลึก รู้จริงเข้าใจงาน
- ฝึกจริง มีทักษะ ความชำนาญ ประสบการณ์
- ยิงถูกเป้า ตั้งเป้าหมายสู่คุณค่า
- เข้าถึง อยู่อย่างมีเพื่อน
- ตรึงให้นาน บริการประทับใจ
- หาญแก้ ปรับเปลี่ยนไปสู่ความเหมาะสม
- แพ้เป็น ชัยชนะแห่งความสำเร็จ
- การก้าวสู่จุดสูงสุดที่มนุษย์ต้องการ
(นรินทร์ อามาตย์)
- แสวงหาความร่วมมือ
- มีกิริยาน่าเชื่อถือ
- ฟัง และพูดให้เป็น
- มองผู้อื่นในแง่ดี
- ยิ้มแย้มพาทีฉันท์มิตร
- มีมาตรฐานที่ใช้นำพฤติกรรม
- รู้จักวิพากษ์วิจารณ์
- เพิ่มบริวารสนมสนิท
- จงทำงานให้สำเร็จ
- เห็นคุณค่าของการเป็นมนุษย์
|
- การเป็นผู้ใต้บังคับบัญชาที่ดีเยี่ยม
(ธวัชชัย ศรีภูมิสวัสดิ์)
- ปฏิบัติตามนโยบายอย่างเคร่งครัด
- ปฏิบัติตนอยู่ในกฎ ระเบียบ และวินัยของหน่วยงาน
- มีความขยัน ละเอียดรอบคอบ และรวดเร็วในการปฏิบัติงาน
- มีความรับผิดชอบ และตรงต่อเวลา
- ใฝ่ศึกษาหาความรู้อยู่เสมอ
- มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี
- มีลักษณะเป็นผู้นำ
- รู้จักผู้บังคับบัญชาของตน และรู้ว่าจะทำงานร่วมกับเขาให้ดีที่สุดได้อย่างไร
- ทำงานอย่างมีระบบ และปฏิบัติได้ครบถ้วนตามขอบข่ายของงานในหน้าที่
- ประเมินผลงาน และแก้ไขปรับปรุงที่ปฏิบัติอย่างต่อเนื่องพร้อมทั้งสรุปรายงานต่อผู้บังคับบัญชา
- การสื่อความหมายกับบุคคลอื่น
(วรรณี เสือบัว)
- มีศิลปะ
- คิดก่อนพูดหรือกระทำ
- จริงใจ
- มีความเรียบง่าย ชัดเจน
- ถูกกาลเทศะ
- เรียนรู้
- หลีกเลี่ยงการอารมณ์เสีย
- ยิ้ม
- ไม่รีบด่วนให้ความเห็น และประเมินผู้อื่น
- ไม่พูดมากเกินไป
- การเป็นผู้บริหารชั้นยอด
(เกษม หล้ากวนวัน)
- มีความสามารถในการนำ และทำงานเป็นทีม
- มีความสามารถในการสื่อสาร
- มีความสามารถในการสื่อสาร
- มีความสามารถในการจัดการตนเอง
- เป็นผู้มีคุณภาพในตนเอง
- รู้จักคน
- สร้างความยืดหยุ่นภายในกลุ่ม
- เน้นความเป็นเลิศ
- เป็นผู้สามารถเรียนเทคนิคการจูงใจคน
- ประเมินความสำเร็จ
- การทำให้คนรักองค์การ
(ชัยวิรัตน์ ทัศนจินดา)
- ชื่อเสียงขององค์การ
- ผู้นำ
- เงินเดือน
- สวัสดิการ
- ตำแหน่ง
- ความก้าวหน้า
- ความมั่นคง
- บำเหน็จความชอบ
- การจูงใจ
- ทีมงานที่มีประสิทธิภาพ
- การตัดสินใจ
(มนัสชัย ห้อทา)
- เป็นคนที่เปิด
- เป็นเลิศทางปฏิภาณ
- เชี่ยวชาญปัญญา
- ไม่นำพาอคติ
- ริเริ่มสร้างสรรค์
- คิดการณ์ก้าวไกล
- ใช้ความมีเหตุผล
- เป็นคนเด็ดเดี่ยว
- เกี่ยวข้องข่าวสาร
- ทำงานเป็นระบบ
- การลงโทษผู้ใต้บังคับบัญชา
(สุวัตน์ ประเสริฐสังข์)
- ต้องแน่ใจว่ารู้ข้อเท็จจริงถูกต้องครบถ้วนดีแล้ว
- ต้องกระทำเป็นการส่วนตัว
- ต้องรู้จักลูกน้องให้ดีพอ
- ต้องกล่าวโทษเขาด้วยการพูดจาอย่างมีเหตุมีผล
- ต้องระมัดระวังในการใช้ภาษา
- อย่าตำหนิตัวเขา จงตำหนิผลงานของเขา
- จงเขียนจดหมายตำหนิโทษเขา เมื่อเขาเคยถูกล่าวด้วยวาจามาแล้วครั้งหนึ่ง
- จงเปลี่ยนงานใหม่ให้เขาทำอีกครั้ง
- งดบำเหน็จด้วยความชอบที่เขาควรจะได้เหมือนกับเพื่อนร่วมงานคนอื่น ๆ
- จงบอกเขาว่าเขามีความรู้ความสามารถมากเกินกว่าที่หน่วยงานของเราจะรับไว้ทำงานในตำแหน่งอีกต่อไป
- การตำหนิผู้ใต้บังคับบัญชา
(อุทัย ภูห้องไสย)
- ต้องรู้ข้อเท็จจริงมากที่สุด
- จังหวะถูกต้อง
- ควรทำเป็นการส่วนตัว
- กระทำด้วยความระมัดระวังมากที่สุด
- น้ำเสียงนุ่มนวล
- ติเพื่อก่อ
- กระทำด้วยใจเป็นธรรม และเป็นกลางมากที่สุด
- การตำหนิ
- อย่าตำหนิซ้ำซาก
- เปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมในการพิจารณาเรื่องที่ถูกตำหนิ
- การเป็นนักบริหารเวลาที่ดี
(สุนทร พรหมไท)
- การวางแผนเวลา
- การควบคุมเวลา
- ทำตารางแบ่งเวลา
- จัดลำดับความเร่งด่วน
- ระบบการจัดเก็บเอกสาร
- การประชุม
- ความเครียด และความกดดัน
- หลีกเลี่ยงการสังคมที่มากเกินไป
- การผัดวันประกันพรุ่ง
- การปรับพฤติกรรม
- การสร้างขวัญให้กับผู้ใต้บังคับบัญชา
(พ.ต.ท.ประวัติ เตียประพงษ์)
- ความเพียงพอของรายได้
- ความมั่นคง และปลอดภัยในการทำงาน
- ความยุติธรรมในหน่วยงาน
- การได้รับมอบหมายความรับผิดชอบ
- ความรู้ความสามารถของผู้บังคับบัญชา
- ความเป็นผู้นำของผู้บังคับบัญชา
- มีโอกาสได้ร่วมคิด
- การได้รับคำชมเชย นิยมยกย่อง หรือยอมรับนับถือ
- การได้รับสวัสดิการที่ดี
- การได้รับความรัก
- การสร้างหัวใจของกการบริการ
(เผชิญ บุตรปาละ)
- มีการวางแผน
- สร้างสรรค์ทีมงาน
- ประชาสัมพันธ์
- รวดเร็ว ถูกต้อง
- ละ ลด เลิก งานที่ไม่จำเป็น
- มีความมั่นใจ แสวงหาจุดยืน
- สร้างเกราะป้องกัน
- มีคุณธรรม
- ประเมินผล
- ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง
- การให้รางวัลลูกน้อง
(อนุช ธรรมวรรณ)
- ให้เมื่อจำเป็น
- ให้ด้วยความจริงใจ
- ให้ผู้อื่นรับรู้ในเหตุผลที่ให้
- ให้ด้วยคำชม ยกย่องในที่สาธารณะ
- ให้ความเป็นธรรม ไม่ลำเอียง
- ไม่ให้รางวัล หรือชมเชยพร่ำเพรื่อ
- ให้ด้วยความพึงพอใจ
- ให้เพื่อสวัสดิภาพ
- ให้เพื่อพัฒนาคุณภาพ
- ให้ในโอกาสต่าง ๆ
- การบริหารงานบุคคล
(บุญแช่ม ดู่ป้อง)
- เลือกสรรบุคคล
- กำหนดตำแหน่งหน้าที่ให้ชัดเจน
- ให้ค่าจ้าง
- ส่งเสริมสวัสดิการ
- จัดสภาพแวดล้อมในการทำงานให้ดี
- มีการติดต่อสื่อสารในองค์การ
- ให้ความสำคัญแก่ทุกคน
- ให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการบริหารงาน
- ให้ความเป็นกกันเองกับทุกคน
- ให้มีความมั่นคงในงาน
- การอบรมพัฒนาบุคลากร
(นิวัติ ศรีธรณ์)
- สนับสนุน
- แก้ปัญหา และส่งเสริม
- เป็นนักวางแผน
- มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
- รู้เรื่องต่าง ๆ ที่ฝึกอบรมได้เป็นอย่างดี
- รู้กระบวนการ และปรัชญาของการฝึกอบรม
- มีความรู้จริง
- มีความพร้อม
- กระตือรือร้น และตื่นตัวเสมอ
- นำไปใช้
- การตัดสินบุคคลที่ได้ชื่อว่าพัฒนาแล้ว
(มงคล เจตินัย)
- ท่าทาง และบุคลิกดี
- สุภาพอ่อนโยน สงบเสงี่ยม และถ่อมตน
- ตื่นตัวกระตือรือร้น
- อดทน ใจคอหนักแน่น
- ควบคุมตนเองได้
- เสียสละ และไม่เห็นแก่ตัว
- สังคมดี
- ใจกว้าง
- มองไกล
- ฉลาด รอบรู้
- การวิเคราะห์เหตุที่ทำให้ระบบข้าราชการไทยมีอาการน่าเป็นห่วง
(พ.ต.ท.สุนทร ซ้ายสุพรรณ)
- ขาดการปลูกฝังให้ช่วยเหลือตนเอง
- งาน และการหาความสนุกสนานคือสิ่งที่ทำควบคู่กัน
- ชอบอิสระ
- ไม่ชอบทำงานที่ยุ่งยากสลับซับซ้อน
- วินัยในการทำงาน
- ทำงานเป็นทีมล้มเหลว
- มุ่งประโยชน์ส่วนตัว
- เห็นแก่ตัว
- ขาดคุณธรรม
- ความสำเร็จที่ต้องการ
- การบริหารการเปลี่ยนแปลง
(วิรัช เจริญเชื้อ)
- ควรทราบถึงสาเหตุ และความจำเป็น
- ต้องมีการวิเคราะห์ปัญหา
- ต้องทราบผลสะท้อนกลับ
- ต้องทราบผลดี
- ต้องพยายามลดความกดดัน
- ต้องยอมรับการเปลี่ยนแปลง
- ต้องมีความชำนาญในการวินิจฉัยสิ่งต่าง ๆ
- ต้องมีเทคนิควิธีการ
- ต้องมีแผนเพื่อสร้างเสถียรภาพ และดำรงไว้
- ควรมีการประเมินผล
- การนำหน่วยงาน
(นุกูล ศรีขลา)
- ต้องใส่ใจคนในหน่วยงาน
- การยกย่องบุคคลในหน่วยงาน
- พร้อมที่จะให้คำตอบ
- จงขอความร่วมมือ อย่าคาดคั้น เพื่อให้ได้รับควยามร่วมมือ
- ไม่เอาแต่ใจตัวเองเป็นใหญ่
- ควรรู้จักระงับอารมณ์
- เข้าใจความต้องการของคนในหน่วยงาน
- ปัญหาเรื่องคน และกลุ่ม
- อย่าทำตนเหนือคนอื่นมากเกินไป
- สิ่งมหัศจรรย์เกิดจากรอยยิ้ม
- การพิจารณาคนดี
(ละเอียด จงกลณี)
- กตัญญูรู้คุณบิดา มารดา และบำรุงรักษาท่านให้มีความสุข
- มีศีลธรรม
- มีความประพฤติดี
- มีความขยันขันแข็ง
- มีการระงับดับความโกรธ
- มีการแสวงหาความรู้ที่จะพัฒนาตนเองอยู่เสมอ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่
- มีความสามารถในการแยกแยะสิ่งถูก ผิด ดี ชั่ว
- แสวงหาความสุขที่สมบูรณ์
|