เทคนิคการกำหนดสถานะ และสภาวะการแข่งขัน
13. เทคนิคการกำหนดสถานะ และสภาวะการแข่งขัน

แนะนำบทเรียน
สภาวะการแข่งขัน ก็เป็นการพิจารณาเพื่อลดสภาวะที่ไม่จำเป็นอีกวิธีการหนึ่ง

สภาวะการแข่งขัน (Race Condition) คือ สภาวะที่ 2 โปรเซส (Process) ที่ต้องการใช้ทรัพยากรที่แบ่งปันไว้ ในเวลาเดียวกัน ทำให้ผลลัพธ์อาจผิดพลาดได้ ขึ้นอยู่กับว่าโปรเซสใดทำเสร็จก่อน การแก้ปัญหาสภาวะการแข่งขันนี้เรียกว่า การกีดกั้น (Mutual Exclusion) ในบริเวณ หรือส่วนของโปรแกรมที่โปรเซส process เข้าครอบครองทรัพยากร (Resource) ซึ่งเรียกว่าอาณาเขตวิกฤต (Critical region)

ตัวอย่างของสภาวะการแข่งขันในชีวิต
+ ทุจริตสอบนายสิบ 60
+ ทุจริตสอบเข้าแพทย์ ทันตะ เภสัช ม.รังสิต 59
+ ทุจริตสอบครูผู้ช่วย 56
+ ทุจริตสอบ o-net phoneone 51
+ อสุจิเข้ารังไข่ (clip)

เอกสารประกอบ
Slides : state_table.pptx
ตารางแสดงสถานะ (state table) และการลดจำนวนสถานะ (minimization of states)
เป็นตารางแสดงการเปลี่ยนแปลงสถานะของวงจร Sequential มี PS:Present State และ NS:Next State โดยข้อมูลก็จะมี input และ output มีวิธีเขียน 2 แบบคือ แบบของ Mealy และ แบบของ Moore ซึ่งตารางแสดงสถานะ กับแผนภาพสถานะ ต่างก็มีความหมายเหมือนกัน แต่อยู่คนละรูปแบบได้ และนำไปสู่การทำตาราง Output sequence เมื่อมี Input sequence
สภาวะการแข่งขัน (race conditions)
http://songyot.ece.engr.tu.ac.th/LE242/
ระบบคอมพิวเตอร์
เอกสารอ้างอิง [1] น.อ.ธวัชชัย เลื่อนฉวี และพ.ต.อนุรักษ์ เถื่อนศิริ, "ดิจิทอลเทคนิค เล่ม 1", มิตรนราการพิมพ์, 2543. ?
[2] น.อ.ธวัชชัย เลื่อนฉวี, "ดิจิทอลเทคนิค เล่ม 2", มิตรนราการพิมพ์, 2543. ?
[3] ศักดิ์ วาสิกะสิน และชนก หงส์น้อย, "ดิจิตอลคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์", บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน), 2540.
[4] ธนันต์ ศรีสกุล, "การวิเคราะห์วงจรและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ด้วยโปรแกรม PSpice", กรุงเทพฯ: วิตตี้ กรุ๊ป, 2550.
[5] Steven D. Johnson, "Digital Hardware Design : Chapter 1", indiana.edu, 2004.
http://goo.gl/72BPC